วันอาทิตย์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

การสร้างปริซึมฐานต่าง ๆ



บทที่ 1
บทนำ
1.1 ที่มาและความสำคัญของโครงงาน 
 จากที่ได้ศึกษาเรื่องพื้นที่ผิว  และปริมาตร จากบทเรียน และเห็นว่าเวลาทำรายงานส่งครูแล้ว ก็ไม่ได้ใช้ทำอะไร ส่วนใหญ่ก็ทิ้งไปเฉยๆ  น่าเสียดาย   จึงมีความคิดว่าถ้าเรานำกระดาษรายงานส่วนปกที่จะต้องทิ้งไปมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการเรียนได้  จึงนำความรู้ที่ได้จากบทเรียนมากำหนดโจทย์  แล้วทำการทดลองสร้างปริซึมฐานต่างๆ ( ลูกบาศก์ ปริซึมฐานสามเหลี่ยม ปริซึมฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้า  ปริซึมห้าเหลี่ยม  และ ปริซึมหกเหลี่ยม ) ที่มีขนาดต่างกันไป ว่าปริซึมฐานใด  และขนาดเท่าไร  ที่จะมีปริมาตรมากที่สุด  และมีขยะจากเศษกระดาษเหลือทิ้งน้อยที่สุด
1.2 จุดประสงค์การทำโครงงาน
เพื่อศึกษาเปรียบเทียบระหว่าง  ลูกบาศก์   ปริซึมฐานสามเหลี่ยม  ปริซึมฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้า   ปริซึมห้าเหลี่ยม   และ ปริซึมหกเหลี่ยม  ว่ารูปทรงชนิดใดสามารถจุสิ่งของได้มากที่สุด  และ สามารถนำความรู้ในการสร้างกล้องให้มีปริมาตรสูงสุดไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ในการคิดคำนวณ  เพื่อที่จะไม่เป็นการสิ้นเปลืองวัสดุให้เสียเปล่าน้อยที่สุด  ซึ่งเป็นการหยัดต้นทุนและไม่เกิดความเสียหายจากการซื้อวัสดุมามากเกินความจำเป็น 
1.3 ขอบเขตของโครงงาน
                1.ลูกบาศก์
                2.ปริซึมฐานสามเหลี่ยม 
                3.ปริซึมฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้า  
                4.ปริซึมห้าเหลี่ยม             
                5.ปริซึมหกเหลี่ยม
1.4  วิธีการดำเนินการ
                1. วางแผนแล้วและวางเค้าโครง
                2.  เก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากแหล่งข้อมูลต่างๆ  เช่นห้องสมุด  วารสาร สื่อสิ่งพิมพ์รวมทั้งข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 
                3.  ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่รวบรวมได้  แล้วจัดสรรข้อมูลที่หามาได้ มาเรียงลำดับความสำคัญ  จำแนกและวิเคราะห์ผลการศึกษา
                4.  จัดพิมพ์ตัวร่างโครงงานและสื่อประกอบต่างๆนำเสนอครูที่ปรึกษาโครงงานเพื่อตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้ง
                5.  นำเสนอผลการศึกษาโครงงานในห้องเรียน   เพื่อให้ผู้ชมสอบถามและตอบข้อสักถามความคิดเห็นเป็นที่ประจักษ์พร้อมกับประเมินผลการทำงาน
1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ
ปริซึมฐานต่างๆ      หมายถึง  ลูกบาศก์   ปริซึมฐานสามเหลี่ยม   ปริซึมฐานสี่เหลี่ยม
                         ผืนผ้า   ปริซึมหกเหลี่ยม ที่ทำจากกระดาษปกรายงานที่ใช้แล้ว
ปริมาตร   หมายถึง  สิ่งที่ได้จากการคำนวณโดยใช้สูตร การหาปริมาตร ของปริซึมฐาน
                          ต่างๆ

บทที่ 3
วิธีการดำเนินงานโครงงาน
3.1 วัสดุ , อุปกรณ์
         1.  กระดาษ  ( ปกรายงานที่ใช้แล้ว)
             2.  ดินสอ / ปากกา
             3.  ไม้บรรทัด
             4.  ยางลบ
             5.  กาว
3.2 ขั้นตอนการดำเนินโครงงาน
                1. รวบรวมข้อมูลเนื้อหาจากแหล่ง ห้องสมุด อินเตอร์เน็ต เป็นต้น
                2. นำข้อมูลที่ได้มาตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล เรียบเรียงความสำคัญของข้อมูล จำแนกและวิเคราะห์เนื้อหาข้อมูล
                3. จัดทำตัวร่างโครงงานและสื่อประกอบต่างๆ
3.3 วิธีการดำเนินงาน
 1. สร้างแบบ ( ภาพคลี่  )  ของปริซึมฐานต่างๆ  ทีละแบบ  ต่างขนาดกัน
  2.  นำแบบที่สร้างเสร็จเรียบร้อยแล้วมาประกอบเป็นปริซึมฐานต่างๆ  ทีละแบบ ต่างขนาดกัน
                 3. บันทึก  ขนาดที่ใช้ การทดลองแต่ละครั้ง  และจัดเก็บเศษที่เหลือแต่ละครั้ง  ไว้เป็นหมวดหมู่ชัดเจน
                 4. นำขนาดที่ได้จากการทดลองมาคำนวณหาปริมาตร ของปริซึม และคำนวณหาพื้นที่ของเศษกระดาษที่เหลือ บันทึกผลการทดลอง
                                                                                  

                                                                         บทที่ 4
ผลการดำเนินการ
ตารางที่ 1  แสดงการเปรียบเทียบผลการทดลอง
(ผลการคำนวณหา ปริมาตรของรูปทรงเรขาคณิต  และผลการชั่งเศษกระดาษที่เหลือทิ้ง )

กล่องรูปทรงเรขาคณิต
ปริมาตร
ดาษกระดาษที่เหลือ
(กรัม)
โดยประมาณ
กล่อง
ขนาด (ซม.)
ปริมาตร
(กรัม)
โดยประมาณ
กว้าง
a
ยาว
b/h1
สูง
h/h2
1. ลูกบาศก์
6
6
6
216
A4 - 216
2. ปริซึมฐานสามเหลี่ยม
7
7
7
149
A4 - 189
8
8
5
139
A4 - 247
3. ปริซึมฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้า
4
6
13
312
A4 - 308
5
7
9
315
A4 - 205
4. ปริซึมฐานห้าเหลี่ยม
5
5
5
219
A4 - 250
6
5
4
240
A4 - 275
5. ปริซึมฐานหกเหลี่ยม
3
3
9
210
A4 - 234
4
4
6
249
A4 - 216







บทที่ 5
สรุปผลการดำเนินงาน
5.1 สรุป
          ผลการเปรียบเทียบระหว่าง ลูกบาศก์   ปริซึมฐานสามเหลี่ยม   ปริซึมฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้า   ปริซึมห้าเหลี่ยม   และ ปริซึมหกเหลี่ยม  ผลปรากฏว่ารูปทรงที่มีปริมาตรมากที่สุดคือ  รูปทรงปริซึมฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้า  ขนาด ……..รองลงมาเป็น……..ตามลำดับ
5.2 ข้อเสนอแนะ
1. ในการทดลองเราอาจเปลี่ยนจากการสร้างกล่องรูปทรงปริซึมอย่างเดียว  โดยการเพิ่ม  พีระมิด  ทรงกระบอก  ทรงกรวย  และทรงกลม  เข้าไปด้วยก็ได้
2. ในการทดลองเราอาจเปลี่ยนจากการสร้างกล่องจากกระดาษจริง  เป็นการสร้างโดยใช้โปรมแกรม  GSP แทน
3. จากผลการทดลองสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริงในชีวิตประจำวัน  ไม่ว่าจะเป็นการก่อสร้างอาคาร  บ้านเรือน  การปูกระเบื้อง  และอื่นๆ  อีกมากมาย


                                                                       อ้างอิง
  การประดิษฐ์รูปทรงเรขาคณิตสามมิติ จากรูปเรขาคณิตสองมิติหรือรูปคลี่ .... 3. รูปเรขาคณิตสามมิติหรือรูปทรง เป็นรูปที่มี ความกว้าง ความยาว 


ภาคผนวก




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น